HOME
ABOUT US
PRODUCTS AND SERVICES
Anti-static floor
ESD Epoxy floor
ESD PVC floor
ESD PVC roll
ESD Wax and ESD floor care
ElektroWax (ESD Wax)
ElektroCleaner (น้ำยาทำความสะอาด)
ElektroRemover (น้ำยาลอกwax)
ESD control system
Epoxy floor
Epoxy self leveling floor
Epoxy coating floor
Epoxy non-slip
Epoxy high chemical resistance
Polyurethane Floor
PU concrete floor
PU coating floor
PU waterproof
PU sport floor
Sport floor
Waterproofing
Polishing concrete/ crystal floor
Color flake floor
PVC Floor
PVC floor roll
PVC vinyl tile
PORTFOLIO
CONTACT US
BLOG
สาระน่ารู้ต่างๆ เกี่ยวกับระบบพื้นในโรงงานอุตสาหกรรม
1. ไฟฟ้าสถิตคืออะไร และ เกิดขึ้นได้อย่างไร
ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) หมายถึง ภาวะที่ วัตถุหนึ่ง มีประจุไฟฟ้าขั่วลบ และ ขั่วบวก ภายใน หรือ บนพื้นผิว ไม่สมดุลย์กัน ประจุเหล่านั้นจะยังคงอยู่ในวัตถุชิ้นเดิมจนกว่าจะได้รับการถ่ายเถ ออกจากวัตถุ หรือเรียกว่า การปลดปล่อยประจุ (electrical discharge)
ไฟฟ้าสถิตสามารถเกิดขึ้นเมื่อ วัตถุสองชนิด มาสัมผัสกัน และ แยกออกจากการ ซึ่งปรากฏการณ์นี้ จะต้องมีวัตถุชิ้นหนึงมีความต้านทานที่สูง (หรือ เรียกว่า ฉนวนไฟฟ้า) เพื่อรักษาสภาพความเป็นกลางทางไฟฟ้าของวัตถุ วัตถุนี้จะทำการถ่ายเทประจุ ซึ่งในบางครั้ง อาจเกิดประกายไฟขึ้น จากการถ่ายเทประจุนั้นได้
2. ผลเสียของไฟฟ้าสถิตต่อโรงงานอุตสาหกรรม
ตัวอย่างผลเสียจากการเกิดไฟฟ้าสถิตต่อภาคอุตสาหกรรมมีดังต่อไปนี้
อุตสาหกรรมอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หากเกิดไฟฟ้าสถิตขึ้นระหว่างตัวพนักงานกับชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ อาจทำให้ชิ้นงานเกิดความเสียหายได้
คลังสินค้า ที่มีการบรรจุผลิตภัณฑ์ จำพวกชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ลงกล่อง หากเกิดไฟฟ้าสถิตขึ้นระหว่างตัวพนักงานกับผลิตภัณฑ์ อาจทำให้ชิ้นงานเกิดความเสียหายได้
อุตสาหกรรมเคมี ในบางประเภทที่มีวัตถุดิบไวไฟ เมื่อมีการเกิดไฟฟ้าสถิต จะทำให้เกิดการระเบิดได้ ดังนั้น ห้องเก็บวัตถุดิบไวไฟ จึงต้องมีการป้องกันการเกิดไฟฟ้าสถิต
อุตสาหกรรมอาหาร ในบางอุตสาหกรรมมีผลิตภัณฑ์ชนิดผง ซึ่งขั้นตอนการผลิตจะมีการเสียดสีเกิดขึ้น ดังนั้น หากพนักงาน เข้าไปสัมผัสตัวผลิตภัณฑ์ อาจทำให้เกิดการเปลี่ยนถ่ายประจุหรือ ไฟฟ้าสถิตได้
3. วิธีการป้องกันการเกิด ไฟฟ้าสถิยต์ ต้องทำอย่างไร
วิธีการป้องกันการเกิดไฟฟ้าสถิตย์ ในภาคอุตสาหกรรม คือ จัดทำพื้นที่ Electrostatic Discharge Protected Area (EPA) ซึ่งเป็นการจัดสภาพแวดล้อมในการทำงานบริเวณนั้นไม่ให้มีโอกาศเกิดไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) ในการจัดทำ EPA ของภาคอุตสาหกรรมนั้น จะต้องจัดทำตามมาตรฐาน Electrostatic Discharge (ESD standard) ซึ่งมีหลายสถาบัน แต่ที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย คือ ANSI/ESD และ IEC standard ทั้ง 2 มาตรฐาน จะระบุไว้ชัดเจน เกี่ยวกับระบบ ESD Protected Area ตั้งแต่ อุปกรณ์ที่สามารถใช้ในบริเวณ EPA เช่น ESD shoes, ESD wrist strap, พื้นที่หน้าโต๊ะทำงาน (ESD Working surface) ตลอดจนระบบพื้นป้องกันไฟฟ้าสถิต (ESD Flooring system)
ESD technology เรามีการจำหน่าย
พื้น pu ราคา
ถูก และ
รับทำพื้น epoxy
อีกด้วย
สนใจสอบถามเพิ่มเติมเรายินดีให้คำปรึกษา
Inbox :
https://www.facebook.com/esdtechno/
Line@ :
https://line.me/R/ti/p/~pearsaru
Tel :
+66815515435
บทความอื่นๆที่น่าสนใจ
เลือกวัสดุเคลือบผิวอย่างไรให้เหมาะกับการใช้งานของคุณ
ความแตกต่างระหว่าง พื้น อีพ๊อกซี่ (Epoxy Floor) และพื้น พียู (PU Floor)
พื้นอุตสาหกรรม 3 แบบที่ดีที่สุดในตลาด
พื้นพียู: พื้นอุตสาหกรรมยอดนิยมที่ตรงความต้องการหลากหลาย
ประเภท การใช้งาน และข้อดีของพื้นอีพ็อกซี่
พื้น ESD คืออะไร?
พื้นกันไฟฟ้าสถิตสำหรับโรงงานของคุณ
คำแนะนำการทำความสะอาดและบำรุงรักษาพื้น Epoxy
น้ำยาเคลือบผิวชนิดป้องกันไฟฟ้าสถิต
สาระน่ารู้ต่างๆ เกี่ยวกับระบบพื้นในโรงงานอุตสาหกรรม
ประเภทของพื้นป้องกันไฟฟ้าสถิต
การบำรุงรักษาเคลือบผิวชนิดป้องกันไฟฟ้าสถิต
ESD technology Co., Ltd
30/89 Moo 17 Bangna-Trad Rd.,
Bangplee-yai, Bangplee,
Samutprakarn, 10540
[email protected]
Policy
นโยบายคุกกี้
นโยบายความปลอดภัย
นโยบายความเป็นส่วนตัว
นโยบายการแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียน
© ESD technology Co., Ltd. All right reserved
โทรหาเราคลิก !!
+66815515435 ประสิทธิ์
, +66867756171 แพร
FOLLOW US
PRODUCTS AND SERVICES
ESD system
Epoxy floor
Polyurethane floor
Sport floor
Waterproofing
Polishing concrete
Engineer wood
สอบถามเพิ่มเติม คลิก!
ติดต่อเราคลิก
Line
Facebook
Call Us
Email
โทรหาเราคลิก
0815515435